สรุปงานวิจัย
สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับวิจัย
ชื่่อวิจัย รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครูด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
ปริญญานิพนธ์ ของ
นางสาวเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธิ์
เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2556
ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
1 ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
2 ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย โดยใช้วิธีการแบบสืบเสาะหาความรู้
3 เด็กปฐมวัยมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
4 ครูผู้สอนมีการชี้แนะ ให้การช่วยเหลือกนในการพัฒนาการจัดประสบการณ์ที่ ั
ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้
ครูผู้สอนปฐมวัย ชั้นอนุบาล จ านวน 2 คน ในโรงเรียนวัดช่องลม(ธรรมโชติ) สังกดส านักงานเขตพื ั ้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม และนักเรียนชั้นอนุบาล จ านวน 42 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ ยวกบการจัดประสบการณ์ที่ส ั ่งเสริม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้
ครูผู้สอนปฐมวัย ชั้นอนุบาล จ านวน 2 คน ในโรงเรียนวัดช่องลม(ธรรมโชติ) สังกดส านักงานเขตพื ั ้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม และนักเรียนชั้นอนุบาล จ านวน 42 คน
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ ยวกบการจัดประสบการณ์ที่ส ั ่งเสริม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
ฉบับที่ 2 แบบประเมินแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
ฉบับที่ 3 แบบประเมินพฤติกรรมการจัดประสบการณ์ของครู ที่ส่งเสริ มทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
ฉบับที่ 4 แบบสังเกตการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริ มทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย
ฉบับที่ 5 แบบบันทึกการจัดประสบการณ์ (แบบ Journal Writing)
ฉบับที่ 6 แบบการประชุมหลังการสังเกตการจัดประสบการณ์
ฉบับที่ 7 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก
ปฐมวัย
ฉบับที่ 8 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
สรุปผลงานวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนและผู้นิเทศมีความพึงพอใจต่อรูปแบบอยูในระดับมาก ( ่ Χ = 4.38,S.D.= 0.19) 3) ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กมีพัฒนาการสูงขึ้นเป็ นลําดับจากการประเมินครั้งที่1ที่มีระดับพอใช้หรือปรับปรุงเป็ น ระดับดีในครั้งที่ 3 และ4 ผลประเมินคุณลักษณะส่วนตัวของครู พบว่า โดยภาพรวมครูมี คุณลักษณะส่วนตัวอยูในระดับมาก ( ่ Χ = 4.45 , S.D.=1.76)
สรุปผลงานวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนและผู้นิเทศมีความพึงพอใจต่อรูปแบบอยูในระดับมาก ( ่ Χ = 4.38,S.D.= 0.19) 3) ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กมีพัฒนาการสูงขึ้นเป็ นลําดับจากการประเมินครั้งที่1ที่มีระดับพอใช้หรือปรับปรุงเป็ น ระดับดีในครั้งที่ 3 และ4 ผลประเมินคุณลักษณะส่วนตัวของครู พบว่า โดยภาพรวมครูมี คุณลักษณะส่วนตัวอยูในระดับมาก ( ่ Χ = 4.45 , S.D.=1.76)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น