วันจันทร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 6

บันทึการเรียนครั้งที่ 6

วัน อังคารที่  13 กันยายน พ.ศ. 2559 

เวลา 08:30 - 12:30 น.



เนื้อหารที่เรียน
ไม่ได้มาเรียน

       การบ้าน
 ภาพเดี่ยว
ภาพหมุน
งานกลุ่ม
ของเล่นตนเอง


วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2559

ของเล่น

ของเล่น กลองแขกใบจิ๋ว
ขั้นตอนการทำ

อุปกรณ์


 1 ถ้วยมาม่ากึ่งสำเร็จรูป 2 ถ้วย 
2  ลูกโป่ง 2 ใบ
3  กระดาษสี
4  กาว
5  กรรไกร

1. ตัดก้นลูกโป่งทั้ง 2 ใบ แล้วนำมาดึงให้ตึง ขึงที่ปากถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปทั้ง 2 ถ้วย


2. ขึงที่ปากถ้วยบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปทั้ง 2 ถ้วย


3. นำกระดาษสีมาตกแต่งเป็นลวดลายให้ดูเหมือนกลองให้มากยิ่งขึ้น เพื่อความสวยงาม




4. เมื่อนำกระดาษสีตกแต่งเรียบร้อยแล้ว  ก็นำส่วนก้นมาประกบกัน 





 5. ตกแต่งลายกลองให้สวยงาม  จะได้ กลองแขกใบจิ๋ว 



วิธีเล่น

ดึงที่หนังบูกโป่งก็จะเกิดเสียงขึ้นมา

หลักการวิทยาศาสตร์

เสียง  เป็นคลื่นกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียง และถูกส่งผ่านตัวกลาง 

ครั้งที่ 5

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 5
วันอังคารที่ 6 กันยายน 2559
เวลา 08:30 - 12:30 น.




เนื้อหาที่เรียน

เปิดวีโอเรื่องอากาศให้ดู


สรุปสาระ สำคัญ ที่ได้จากการดูวีดีโอ อากาศ
ลมที่เคลื่อนที่ได้ มนุษย์ใช้อากาศในการหายใจ ชามแก้วใสติดกระดาษ จุ่มลงในน้ำ แก้วไม่เปียก อากาศไม่มีขนาดรูปร่าง แต่แทรกตัวได้เต็มที่ การทดลองเติมน้ำใส่ขวด โดยใช้ถ้วยตวงใส่ได้สบาย เอาดินน้ำมันมาปิดฝาขวด แล้วใส่น้ำ จะใส่ได้ช้า อากาศในขวด ออกได้เติม แต่ปิดดินน้ำมันอากาศออกไม่ได้  


-  อากาศมีตัวตน แต่ถ้าถูกอะไรแทนที่อากาศจะออกไป 
 -  อากาศมีน้ำหนัก การทดลองจากลูกโป่ง ลูกโป่งที่ีมีลมจะหนักกว่าลูกโป่งไม่มีลม 
 -  อากาศร้อนกับอากาศเย็นแตกต่างกันอย่างไร แก้วในเทียนไข ความร้อนเบากว่า หลักการผลิตบอลลูน ขวดแช่น้ำร้อน น้ำเย็น ใส่ควันธูป สลับกัน น้ำเย็นข้างบน ควันธุปจะไม่ลอย เพราะ อากาศปรับสมดุลตลอดเวลา ให้มีปริมาณเท่ากัน จะเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ลม


และแจกกระดาษ คัด ก-ฮ

และให้ไปดูงานของพี่ปี 5 ที่ตึก นวัตกรรม

คำศัพท์
1.Size
2.shape
3.candle
4.balloon
5.incense

การนำไปใช้
-

การประเมิน
ประเมินตนเอง - ตั้งใจดูวิดีโอและศึกษาการเรียนของวิทยาศาสตร์
ประเมินบรรยายกาศในห้องเรียน - สะอาด แอร์เย็น
ประเมินอาจารย์ - อาจาย์นำเนื้อมาสอนได้เข้าใจง่ายใากขึ้น


สรุปบทความ

แท้จริงแล้ววิทยาศาสตร์คือความพยายามของมนุษย์ที่จะเรียนรู้และทำความเข้าใจกับสิ่งรอบตัวและตัวตนของตนเอง ซึ่งความพยายามเช่นนี้จะติดตัวกับมนุษย์เรามาตั้งแต่แรกเกิด เห็นได้จากธรรมชาติของเด็กที่มีความอยากรู้อยากเห็น ช่างสังเกตและคอยซักถามเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่พวกเขาเจอ และบางครั้งก็เป็นคำถามที่ยากเกินกว่าที่

  ดร. วรนาท รักสกุลไทย นักการศึกษาปฐมวัย ผู้อำนวยการโรงเรียนเกษมพิทยา (ฝ่ายอนุบาล) กล่าวว่า "เราคงทราบดีกันอยู่แล้วว่าวิทยาศาสตร์มีความสำคัญเพียงใด แต่สำหรับเด็กอนุบาล แนวทางการสอนต่างหากที่จะทำให้เด็กสนใจ สิ่งสำคัญที่สุดคือครูต้องแม่นยำในพัฒนาการของเด็ก เพื่อที่จะสามารถจัดการเรียนรู้ได้สอดคล้องกับความสามารถของเด็ก รวมถึงต้องอย่าลืมเรื่องจินตนาการที่มีอยู่สูงในเด็กวัยนี้"

สรุปงานวิจัย

          สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับวิจัย

ชื่่อวิจัย   รูปแบบการพัฒนาวิชาชีพเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพครูด้านการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย

ปริญญานิพนธ์  ของ 
นางสาวเกษศิรินทร์ ศรีสัมฤทธิ์ 

เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย   วิทยานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน ภาควิชาหลักสูตรและวิธีสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2556 ลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร

 ความมุงหมายของการวิจัย 
         
1 ครูมีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบแผนการจัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย 

2 ครูมีความสามารถในการจัดประสบการณ์ ที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย โดยใช้วิธีการแบบสืบเสาะหาความรู้ 

3 เด็กปฐมวัยมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ 

4 ครูผู้สอนมีการชี้แนะ ให้การช่วยเหลือกนในการพัฒนาการจัดประสบการณ์ที่ ั ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์

 
ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้           


          ครูผู้สอนปฐมวัย ชั้นอนุบาล จ านวน 2 คน ในโรงเรียนวัดช่องลม(ธรรมโชติ) สังกดส านักงานเขตพื ั ้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสงคราม และนักเรียนชั้นอนุบาล จ านวน 42 คน 


 
เครื่องมือที่ใชในการวิจัย

 ฉบับที่ 1 แบบทดสอบความรู้ ความเข้าใจเกี่ ยวกบการจัดประสบการณ์ที่ส ั ่งเสริม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย

 ฉบับที่ 2 แบบประเมินแผนการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย 

ฉบับที่ 3 แบบประเมินพฤติกรรมการจัดประสบการณ์ของครู ที่ส่งเสริ มทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย 

ฉบับที่ 4 แบบสังเกตการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริ มทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์เด็กปฐมวัย 

ฉบับที่ 5 แบบบันทึกการจัดประสบการณ์ (แบบ Journal Writing)  

ฉบับที่ 6 แบบการประชุมหลังการสังเกตการจัดประสบการณ์

 ฉบับที่ 7 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเด็ก ปฐมวัย 

ฉบับที่ 8 แบบสังเกตพฤติกรรมด้านจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย 


สรุปผลงานวิจัย          


          ผลการวิจัยพบว่า ครูผู้สอนและผู้นิเทศมีความพึงพอใจต่อรูปแบบอยูในระดับมาก ( ่ Χ = 4.38,S.D.= 0.19) 3) ผลการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย พบว่า เด็กมีพัฒนาการสูงขึ้นเป็ นลําดับจากการประเมินครั้งที่1ที่มีระดับพอใช้หรือปรับปรุงเป็ น ระดับดีในครั้งที่ 3 และ4 ผลประเมินคุณลักษณะส่วนตัวของครู พบว่า โดยภาพรวมครูมี คุณลักษณะส่วนตัวอยูในระดับมาก ( ่ Χ = 4.45 , S.D.=1.76)










วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 4

บันทึกการเรียน ครั้งที่ 4
วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2559
เวลา 08:30 - 12:30 น.





เนื้อหาที่เรียน

- ในวันนี้อาจารย์ให้จับกลุ่มกัน แล้วแจกกระดาษ 1 แผ่นและคลิปหนีบกระดาษ 1 อัน
โดยกำหนดให้แต่ละกลุ่มทำของเล่นมากลุ่มละ 1 ชิ้นโดยใช้แค่กระดาษและคลิปเท่านั้น
ซึ่งในแต่ละกลุ่มได้ประดิษฐ์ของเล่นหลากหลายกันไปได้แก่
 รถกระดาษ
 กังหัน
 ลูกยางกระดาษ 
 นกกระดาษ
 เนื้อหา
 คลิป+กระดาษ


- ขั้นตอนการทำลูกยางกระดาษ

วิธีทำ

  1. ตัดกระดาษ 2 x 8 นิ้ว
  2. จากนั้น ลากเส้นวาดตามรูปด้านล่าง
  3. รอยเส้นประ คือส่วนที่ต้องพับ
  4. เส้นทึบ คือส่วนที่ต้องตัด
  5. พับและตัดตามรูปสอนด้านล่าง
  6. ส่วนปลายที่พับเล็กๆ ติดด้วยตลิปหนีบกระดาษ
ที่มา http://p-ject.com
สิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรม
-       สอนเรื่องแรงโน้มถ่วง Gravity
-      สอนเรื่องแรงต้านทาน Tension resistance

-      สอนเรื่องเรื่องแรงหมุน แรงเหวี่ยง Strong rotation,Centrifugal

คำศัพท์
- paper 
- windmill 
- Thousand origami cranes 
- assemble
- toy 

การนำไปใช้ 
- การนำไปฝึกให้เกิดความสนุกและฝึกการหมุนให้หมุนได้อยู่นาน

การประเมิน
ประเมินตัวเอง : ช่วยเพื่อนออกความคิดเห็น ช่วยทำงาน ช่วยปรึกษากัน
ปนะเมินบรรยากาศในห้องเรียน : เพื่อนๆช่วยกันทำชิ้นงานอย่างตั้งใจ
ประเมินผู้สอน : ตรงต่อเวลา เตรียมเนื้อหาการสอนได้เข้าใจง่ายและสนุก